Sroikaew Phromsungnoen | 19 เมษายน 16:51 |
ในตอนนี้จะพูดถึงกรรม ๑๖ อย่าง เพื่อความเข้าใจในกฏแห่ งกรรมตามหลักพระพุทธศาสนากว้ างขวางยิ่งขึ้น
ก่อนที่จะชี้แจงกรรม ๑๖ อย่างว่ามีอะไรบ้าง เกี่ยวข้องกับชีวิตของเราอย่ างไร ขอย้ำความเข้าใจในเบื้องต้นเสี ยก่อนว่า
หลักพระพุทธศาสนาของเรานั้ นเราไม่เชื่ออำนาจดวงดาว ไม่เชื่ออำนาจพระเจ้า
ไม่เชื่ออำนาจสิ่งภายนอกอื่ นใดว่าจะมาดลบันดาลชีวิ ตของเราให้สุข ให้ทุกข์ ให้เสื่อม ให้เจริญ ให้อายุสั้น ให้อายุยืน ให้เป็นอย่างโน้น
ให้เป็นอย่างนี้ แต่เราเชื่อว่า สิ่งที่จะมาทำชีวิตเราให้เป็ นอย่างโน้น เป็นอย่างนี้ได้ก็คือกรรมนั่ นเอง ตัวกรรมที่เราทำไว้เอง
เราจึงต้องเป็นไปตามกรรม ดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า "กมฺมุนา วคฺตติ โลโก แปลว่า สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม"
และกรรมนั้นจะต้องมีเจตนาจึ งจะเป็นกรรมได้ หากไม่มีเจตนาจะไม่เป็นกรรม ไม่ว่ากรรมฝ่ายดีหรือชั่ว พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า
"เจตนาหํ ภิกฺขเว กมฺมํ วทามิ แปลว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราเรียกการกระทำที่มี ความจงใจว่าเป็นตัวกรรม"
เกี่ยวกับกฏของกรรมนี้ มีบางคนสงสัยว่า ทำไมบางคนทำดีแล้วกลับไม่ได้ดี แต่กลับไปได้ชั่ว บางคนทำชั่วแล้วยังไม่ได้ชั่ วแต่กลับไปได้ดี
ที่เป็นเช่นนี้เพราะเหตุใด ดังนั้น ในตอนนี้จะชี้แจงให้ทราบว่า มันมีกรรมอันใดกีดกันอยู่
ก่อนอื่นขอทำความเข้าใจว่า คำว่า "กรรม" ในพุทธศาสนาเป็นกลางๆ ไม่ดีไม่ชั่ว ถ้าเป็นกรรมก็เรียก กุศลกรรม ถ้าเป็นกรรมชั่วก็เรียก
อกุศลกรรม กรรมดีเป็นบุญเรียกว่า บุญกรรม กรรมชั่วเป็นบาปเรียกว่า บาปกรรม
กรรมนั้นมีหลายระดับ เราจะต้องศึกษาให้เข้าใจเหมื อนศึกษาศาสตร์ต่างๆ พระพุทธเจ้าทรงแสดงกรรมไว้ หลายระดับ
ดังนั้น ในพุทธศาสนาก็ได้กล่าวถึ งกรรมหลายชนิด เช่น:-
กรรม ๒ ชนิด คือ กุศลกรรม และ อกุศลกรรม
กฏของกรรม ๖ ชนิด คือ สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็ นของของตน, เป็นทายาทของกรรมหรือเป็นผู้รั บผลของกรรม, มีกรรมเป็นกำเนิด,
มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์, มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย, ทำสิ่งใดไว้จะดีหรือชั่วก็ตาม จะต้องได้รับผลของกรรมนั้น
กรรม ๑๒ อย่าง อย่างที่กล่าวมาแล้วในวันต้น คือ กรรมที่ให้ผลตามกาล ๔ อย่าง กรรมที่ให้ผลตามหน้าที่ ๔ อย่าง
กรรมที่ให้ผลตามลำดับ ๔ อย่าง
ในกรรม ๑๒ อย่าง มีอยู่หมวดหนึ่งซึ่งจะนำมาชี้ แจงเพื่อเชื่อมกับกรรม ๑๖ อย่างในวันนี้ คือ กรรมที่ให้ผลตามหน้าที่
หรือว่า กรรมให้ผลตามกิจ ๔ อย่าง คือ :-
(๑) ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกิด
(๒) อุปัตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน
(๓) อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้น
(๔) อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน
กรรมทั้ง ๔ อย่างนี้ จะให้ผลช้า ให้ผลเร็ว จะไม่ให้ผลหรือยังรอให้ผลอยู่ ต้องขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัย ถ้าเหตุปัจจัยบริบูรณ์ กรรมนี้ก็ให้ผล ถ้าเหตุปัจจัยไม่บริบูรณ์ กรรมนี้ก็ไม่ให้ผล แต่มันจะรอผล
อะไรคือเหตุปัจจัยที่จะเป็ นแรงหนุนให้กรรมทั้ง ๔ อย่างนี้ก่อผลขึ้น เพราะกรรมนั้นมีทั้งกุศลและอกุ ศล
ท่านกล่าวไว้ว่า เหตุปัจจัยที่เป็นตัวสนับสนุ นให้กรรมทั้ง ๔ อย่างนี้ให้ผลนั้น มีอยู่ ๔ อย่าง คือ :-
(๑) คติ คือ ที่ไปเกิด
(๒) อุปธิ คือ รูปร่าง
(๓) กาล คือ ยุคหรือสมัยที่เกิด
(๔) ปโยคะ คือ ความเพียรหรือความพยายาม
ขอให้ทำความเข้าใจ เหตุปัจจัยทั้ง ๔ อย่างนี้ให้ชัด เพราะเหตุปัจจัย ๔ อย่างนี้เป็นตัวการที่ทำให้ กรรมให้ผลช้าหรือให้ผลเร็ว หรือไม่ให้ผลในขณะนั้น
ข้อ ๑ คติ หมายถึง ที่ไปเกิด ถ้าคติดีก็ไปเกิดในสวรรค์หรื อไปเกิดเป็นมนุษย์ ที่เรียกว่า สุคติ ถ้าคติไม่ดีก็จะเกิดในอบายภูมิ เช่น เกิดเป็นสัตว์นรก เกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน ที่เรียกว่า ทุคติ
สุคติ แปลว่า ไปที่ดี ทุคติ แปลว่า ไปที่ไม่ดี เพราะฉะนั้น เราจะ"ด้คติอันใดก็แล้วแต่ กรรมของเรา คตินี้คือ ที่ที่ต้องไปเกิด หรือภูมิที่เราไปเกิดนั่นเอง เป็นเหตุปัจจัยตัวหนุนอย่างหนึ่ งที่ให้กรรมให้ผลหรือไม่ให้ผล
ข้อ ๒ อุปธิ หมายถึง รูปร่างกาย ถ้าอุปธิฝ่ายกุศล ก็มีรูปร่างสวยงาม สมบูรณ์ ไม่มีอวัยวะบกพร่อง แต่ถ้าอุปธิไม่ดี ก็มีรูปร่างกายไม่สมบูรณ์ ร่างกายบกพร่อง
ข้อ ๓ กาล คือ ยุคหรือสมัยที่ไปเกิด ถ้าเราเกิดในยุคที่ผู้ ปกครองประกอบด้วยธรรม มีแต่คนดี พระเจ้าแผ่นดินครองธรรม อย่างนี้เรียกว่า
กาลดี ถ้าเกิดในกาลหรือยุคที่ไม่ดี เช่น เกิดในยุคที่ประชาชนไม่ตั้งอยู่ ในศีลธรรม นักปกครองมีแต่ความเหี้ยมโหดมี แต่ความทารุณ
เกิดในยุคที่ข้าวยากหมากแพง เดือดร้อนลำเค็ญ อย่างนี้เรียกว่า กาลไม่ดี
ข้อ ๔ ปโยคะ หมายถึง การกระทำหรือความเพียร ถ้าเราเกิดมามีความขยันหมั่นเพี ยรก็หนุนให้กรรมที่เราทำไว้ได้ ผลไวขึ้น
แต่ถ้าเรเกิดทาไม่ขยันหมั่นเพี ยรก็ทำให้กรรมที่เราทำดีไว้ไม่ ก่อผล กลับสนับสนุนกรรมชั่วให้ก่อผล
เพราะฉะนั้น เหตุปัจจัย ๔ อย่าง คือ (๑) คติ (๒) อุปธิ (๓) กาล (๔) ปโยคะ นับว่าเป็นตัวแปรที่สำคัญ ทั้ง๔
อย่างนี้มันก็มีทั้งฝ่ายดีและฝ่ ายไม่ดี ถ้าฝ่ายดีท่านเรียกว่าเป็น สมบัติ คือ ความสมบูรณ์ ถ้าฝ่ายไม่ดีท่านเรียกว่า วิบัติ คือ
ก่อนที่จะชี้แจงกรรม ๑๖ อย่างว่ามีอะไรบ้าง เกี่ยวข้องกับชีวิตของเราอย่
หลักพระพุทธศาสนาของเรานั้
ไม่เชื่ออำนาจสิ่งภายนอกอื่
ให้เป็นอย่างนี้ แต่เราเชื่อว่า สิ่งที่จะมาทำชีวิตเราให้เป็
เราจึงต้องเป็นไปตามกรรม ดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า "กมฺมุนา วคฺตติ โลโก แปลว่า สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม"
และกรรมนั้นจะต้องมีเจตนาจึ
"เจตนาหํ ภิกฺขเว กมฺมํ วทามิ แปลว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราเรียกการกระทำที่มี
เกี่ยวกับกฏของกรรมนี้ มีบางคนสงสัยว่า ทำไมบางคนทำดีแล้วกลับไม่ได้ดี แต่กลับไปได้ชั่ว บางคนทำชั่วแล้วยังไม่ได้ชั่
ที่เป็นเช่นนี้เพราะเหตุใด ดังนั้น ในตอนนี้จะชี้แจงให้ทราบว่า มันมีกรรมอันใดกีดกันอยู่
ก่อนอื่นขอทำความเข้าใจว่า คำว่า "กรรม" ในพุทธศาสนาเป็นกลางๆ ไม่ดีไม่ชั่ว ถ้าเป็นกรรมก็เรียก กุศลกรรม ถ้าเป็นกรรมชั่วก็เรียก
อกุศลกรรม กรรมดีเป็นบุญเรียกว่า บุญกรรม กรรมชั่วเป็นบาปเรียกว่า บาปกรรม
กรรมนั้นมีหลายระดับ เราจะต้องศึกษาให้เข้าใจเหมื
ดังนั้น ในพุทธศาสนาก็ได้กล่าวถึ
กรรม ๒ ชนิด คือ กุศลกรรม และ อกุศลกรรม
กฏของกรรม ๖ ชนิด คือ สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็
มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์, มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย, ทำสิ่งใดไว้จะดีหรือชั่วก็ตาม จะต้องได้รับผลของกรรมนั้น
กรรม ๑๒ อย่าง อย่างที่กล่าวมาแล้วในวันต้น คือ กรรมที่ให้ผลตามกาล ๔ อย่าง กรรมที่ให้ผลตามหน้าที่ ๔ อย่าง
กรรมที่ให้ผลตามลำดับ ๔ อย่าง
ในกรรม ๑๒ อย่าง มีอยู่หมวดหนึ่งซึ่งจะนำมาชี้
หรือว่า กรรมให้ผลตามกิจ ๔ อย่าง คือ :-
(๑) ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกิด
(๒) อุปัตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน
(๓) อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้น
(๔) อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน
กรรมทั้ง ๔ อย่างนี้ จะให้ผลช้า ให้ผลเร็ว จะไม่ให้ผลหรือยังรอให้ผลอยู่ ต้องขึ้นอยู่กับเหตุปัจจัย ถ้าเหตุปัจจัยบริบูรณ์ กรรมนี้ก็ให้ผล ถ้าเหตุปัจจัยไม่บริบูรณ์ กรรมนี้ก็ไม่ให้ผล แต่มันจะรอผล
อะไรคือเหตุปัจจัยที่จะเป็
ท่านกล่าวไว้ว่า เหตุปัจจัยที่เป็นตัวสนับสนุ
(๑) คติ คือ ที่ไปเกิด
(๒) อุปธิ คือ รูปร่าง
(๓) กาล คือ ยุคหรือสมัยที่เกิด
(๔) ปโยคะ คือ ความเพียรหรือความพยายาม
ขอให้ทำความเข้าใจ เหตุปัจจัยทั้ง ๔ อย่างนี้ให้ชัด เพราะเหตุปัจจัย ๔ อย่างนี้เป็นตัวการที่ทำให้
ข้อ ๑ คติ หมายถึง ที่ไปเกิด ถ้าคติดีก็ไปเกิดในสวรรค์หรื
สุคติ แปลว่า ไปที่ดี ทุคติ แปลว่า ไปที่ไม่ดี เพราะฉะนั้น เราจะ"ด้คติอันใดก็แล้วแต่
ข้อ ๒ อุปธิ หมายถึง รูปร่างกาย ถ้าอุปธิฝ่ายกุศล ก็มีรูปร่างสวยงาม สมบูรณ์ ไม่มีอวัยวะบกพร่อง แต่ถ้าอุปธิไม่ดี ก็มีรูปร่างกายไม่สมบูรณ์ ร่างกายบกพร่อง
ข้อ ๓ กาล คือ ยุคหรือสมัยที่ไปเกิด ถ้าเราเกิดในยุคที่ผู้
กาลดี ถ้าเกิดในกาลหรือยุคที่ไม่ดี เช่น เกิดในยุคที่ประชาชนไม่ตั้งอยู่
เกิดในยุคที่ข้าวยากหมากแพง เดือดร้อนลำเค็ญ อย่างนี้เรียกว่า กาลไม่ดี
ข้อ ๔ ปโยคะ หมายถึง การกระทำหรือความเพียร ถ้าเราเกิดมามีความขยันหมั่นเพี
แต่ถ้าเรเกิดทาไม่ขยันหมั่นเพี
เพราะฉะนั้น เหตุปัจจัย ๔ อย่าง คือ (๑) คติ (๒) อุปธิ (๓) กาล (๔) ปโยคะ นับว่าเป็นตัวแปรที่สำคัญ ทั้ง๔
อย่างนี้มันก็มีทั้งฝ่ายดีและฝ่
Sroikaew Phromsungnoen | 19 เมษายน 17:00 |
ความสูญเสีย
เพราะฉะนั้น เราแต่ละคนนี้จะเกิดมาได้สมบัติ หรือได้วิบัติ ก็แล้วแต่กรรมของเราหนุนให้ได้ รับ
ถ้าได้สมบัติ ต้องได้สมบัติทั้ง ๔ อย่าง คือ
(๑) คติสมบัติ ความสมบูรณ์ของคติที่เราไปเกิด เช่น เกิดในสวรรค์ เกิดเป้นมนุษย์ที่สมบูรณ์ นี้เรียกว่า คติสมบัติ
(๒) อุปธิสมบัติ คือ มีร่างกายสมบูรณ์ อวัยวะสมบูรณ์ ไม่บกพร่อง เช่น รูปสวย รูปหล่อ รูปงาม นี้เรียกว่าอุปธิสมบัติ
(๓) กาลสมบัติ คือ เกิดในยุคที่คนมีธรรม เช่น เกิดในยุคพระพุทธเจ้า เกิดในยุคที่คำสอนของพระพุทธเจ้ ายังอยู่ หรือในยุคที่ผูปกครองประกอบค้ วยธรรม คนประพฤติธรรม ประพฤติดี อย่างนี้เรียกว่า กาลสมบัติ
(๔) ปโยคสมบัติ คือ เกิดมามีความขยันหมั่นเพียร ประกอบแต่กรรมดี อย่างเรามาฝึกกรรมฐาน ก็แสดงว่ามีปโยคสมบัติ เรามาสร้างปโยคสมบัติขึ้น จะเป็นเหตุให้กรรมดีที่ทำไว้ก่ อผลไวขึ้น เพราะเรามาสร้างปโยคสมบัติ ในทางที่ดี ปโยคะ ก็คือความเพียรหรือการกระทำดีนั ่นเอง เป็นปโยคสมบัติ
เพราะฉะนั้น สมบัติมีอยู่ ๔ เป็นฝ่ายที่ดี ซึ่งตรงข้ามกับวิบัติ วิบัติก็มี ๔ เหมือนกัน คือ
(๑) คติวิบัติ คือ เกิดมาเป็นคติวิบัติ เช่นเกิดในอบาย คือ เกิดในนรก เกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาร หรือเกิดเป็นเปรตหรืออสุรกาย
(๒) อุปธิวิบัติ คือ เกิดมาร่างกายพิกลพิการ ร่างกายบกพร่อง เช่นตาบอด หูหนวก เป็นต้น อย่างนี้เรียกว่า อุปธิวิบัติ
(๓) กาลวิบัติ คือ เกิดในยุคที่เดือดร้อน ที่ลำเค็ญ ที่คนมีแต่ความทารุณ คนไม่มีศีลธรรม ผู้ปกครองขาดคุณธรรม อย่างนี้เรียกว่า กาลวิบัติ หรือเกิดในดินแดนที่แห้งแล้ง ในยึคที่เดือดร้อน
(๔) ปโยควิบัติ คือ ขี้เกียจ ไม่ทำความเพียร ไม่ทำความดี หรือการกระทำของตนทำในทางที่ชั่ ว ทำในทางที่เสีย เรียกว่าการกระทำวิบัติ ปโยคะ คือ การกระทำ การกระทำวิบัติไปกระทำในทางที่ ชั่ว ไม่มีศีลไม่มีธรรม อย่างนี้เรียกว่า ปโยควิบัติ
ดังนั้น สมบัติก็มี ๔ วิบัติก็มี ๔ จึงรวมเป็น ๘ และกรรมนั้นก็มีทั้งกรรมฝ่ายดี และกรรมฝ่ายชั่ว เพราะฉะนั้น กรรมชั่วนั้นมีลักษณะ ๘ ประการ กรรมดีก็มีลักษณะอยู่ ๘ ประการ จึงรวมเป็นกรรม ๑๖ กรรมทั้ง ๑๖* นี้ คืออะไร จะชี้ให้ดู
* อรรถกถาอังคุตตรนิกาย ชื่อ มโนรถปูรณี ภาค หน้า ๑๔๑ และอรรถกถาวิภังค์ ข้อ ๘๔๐ หน้า ๔๕๘
เพราะฉะนั้น เราแต่ละคนนี้จะเกิดมาได้สมบัติ
ถ้าได้สมบัติ ต้องได้สมบัติทั้ง ๔ อย่าง คือ
(๑) คติสมบัติ ความสมบูรณ์ของคติที่เราไปเกิด เช่น เกิดในสวรรค์ เกิดเป้นมนุษย์ที่สมบูรณ์ นี้เรียกว่า คติสมบัติ
(๒) อุปธิสมบัติ คือ มีร่างกายสมบูรณ์ อวัยวะสมบูรณ์ ไม่บกพร่อง เช่น รูปสวย รูปหล่อ รูปงาม นี้เรียกว่าอุปธิสมบัติ
(๓) กาลสมบัติ คือ เกิดในยุคที่คนมีธรรม เช่น เกิดในยุคพระพุทธเจ้า เกิดในยุคที่คำสอนของพระพุทธเจ้
(๔) ปโยคสมบัติ คือ เกิดมามีความขยันหมั่นเพียร ประกอบแต่กรรมดี อย่างเรามาฝึกกรรมฐาน ก็แสดงว่ามีปโยคสมบัติ เรามาสร้างปโยคสมบัติขึ้น จะเป็นเหตุให้กรรมดีที่ทำไว้ก่
เพราะฉะนั้น สมบัติมีอยู่ ๔ เป็นฝ่ายที่ดี ซึ่งตรงข้ามกับวิบัติ วิบัติก็มี ๔ เหมือนกัน คือ
(๑) คติวิบัติ คือ เกิดมาเป็นคติวิบัติ เช่นเกิดในอบาย คือ เกิดในนรก เกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาร หรือเกิดเป็นเปรตหรืออสุรกาย
(๒) อุปธิวิบัติ คือ เกิดมาร่างกายพิกลพิการ ร่างกายบกพร่อง เช่นตาบอด หูหนวก เป็นต้น อย่างนี้เรียกว่า อุปธิวิบัติ
(๓) กาลวิบัติ คือ เกิดในยุคที่เดือดร้อน ที่ลำเค็ญ ที่คนมีแต่ความทารุณ คนไม่มีศีลธรรม ผู้ปกครองขาดคุณธรรม อย่างนี้เรียกว่า กาลวิบัติ หรือเกิดในดินแดนที่แห้งแล้ง ในยึคที่เดือดร้อน
(๔) ปโยควิบัติ คือ ขี้เกียจ ไม่ทำความเพียร ไม่ทำความดี หรือการกระทำของตนทำในทางที่ชั่
ดังนั้น สมบัติก็มี ๔ วิบัติก็มี ๔ จึงรวมเป็น ๘ และกรรมนั้นก็มีทั้งกรรมฝ่ายดี
* อรรถกถาอังคุตตรนิกาย ชื่อ มโนรถปูรณี ภาค หน้า ๑๔๑ และอรรถกถาวิภังค์ ข้อ ๘๔๐ หน้า ๔๕๘
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น