Sroikaew Phromsungnoen | 27 มีนาคม 19:29 |
สัปปุริสธรรม 7
แปลว่า การคบสัตบุรุษ สัตบุรุษ เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า คนดี คนสงบ ตรงกับภาษาบาลีว่า สัปปุริสะ ผู้ที่เป็นสัตบุรุษหรือสัปปุริ สะ ได้แก่
1. รู้เหตุ
2. รู้ผล
3. รู้ตน
4. รู้ประมาณ
5. รู้กาล
6. รู้ชุมชน
7. รู้บุคคล
การเข้าไปคบหา ได้แก่ การเข้าไปสนทนาไต่ถาม มอบตัวเป็นศิษย์ รับโอวาทของสัตบุรุษ
เมื่ออยู่ในท้องถิ่นที่มีสัตบุ รุษ คือ คนดีตามจักรข้อ ๑ แล้ว ก็เข้าไปคบหาสมาคมกับสัตบุรุษนั ้น เป็นจักรข้อที่ ๒ สัตบุรุษย่อมแนะนำสิ่งที่ควร
แนะนำ ให้รู้จักบาปบุญคุณโทษ ประโยชน์มิใช่ประโยชน์ ให้รู้จักเว้นชั่วประพฤติดี ละสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ กระทำแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์อย่ าง
เดียว
1. ธัมมัญญุตา แปลว่า ความเป็นผู้รู้จักเหตุ
หมายความว่า ความรู้จักหัวข้อธรรม หัวข้อวินัย อันเป็นเหตุแห่งความสุข และแห่งความทุกข์
เช่น อโลภะ ความไม่โลภ อโทสะ ความไม่โกรธ อโมหะ ความไม่หลง เป็นเหตุแห่งความสุข โลภะ ความโลภ โทสะ ความโกรธ โมหะ
ความหลง เป็นเหตุแห่งความทุกข์ เป็นต้น.
2. อัตถัญญุตา แปลว่า ความเป็นผู้รู้จักผล
หมายความว่า ความรู้จักเนื้ อความของธรรมของวินัยแต่ละข้อ คือความสุขและความทุกข์ อัน
เป็น ผลแห่งหัวข้อธรรมวินัยที่เป็ นเหตุนั้น ๆ เช่น ความสุขเป็นผลแห่งอโลภะ อโทสะ อโมหะ ความทุกข์ เป็นผลแห่งโลภะ โทสะ โมหะ เป็น
ต้น
3. อัตตัญญุตา แปลว่า ความเป็นผู้รู้จักตน
หมายความว่า ความรู้จักฐานะภาวะที่ตนมีอยู่ เป็นอยู่ แล้วประพฤติให้เหมาะสม เช่นเกิดมาใน
ชาติ ตระกูลใด มียศศักดิ์อย่างไร มีสมบัติเท่าไร มีบริวารเป็นอย่างไร มีความรู้ทางโลกเท่าไร ความรู้ทางธรรมเท่าไร และมีคุณธรรม คือ
สัทธา สีล สุตะ จาคะ ปัญญา ปฏิภาณเท่าไร เมื่อรู้จักแล้วต้องวางตนให้ เหมาะสม คือเจียมเนื้อเจียมตัว ตั้งอยู่ในสุจริตประพฤติดีด้วย
ไตรทวารสม่ำเสมอ ไม่เย่อหยิ่งอวดดี อวดมั่งอวดมีอวดรู้ โบราณท่านสอนว่าให้หมั่นตักน้ ำใส่กะโหลกชะโงกดูเงาหน้า ก็มุ่งให้รู้จักระวังตน
ประพฤติตนให้เหมาะสมแก่ ฐานะภาวะดังกล่าวนี้เอง
4. มัตตัญญุตา แปลว่า ความเป็นผู้รู้จักประมาณ รู้จักพอดี
หมายความว่า จะทำอะไร จะพูดอะไร จะคิดอะไร ก็ให้รู้จักประมาณ พอดี พองาม,
ไม่ มาก ไม้น้อย, ไม่ขาด ไม่เกิน, ไม่ตึง ไม่หย่อน, ไม่อ่อนปวกเปียก ไม่แข็งกร้าว ไม่เกิดโทษแก่ใคร ๆ มีแต่เกิดประโยชน์แก่บุคคลทั่ว
ไป ในกาลทุกเมื่อ ดังธรรมสุภาษิต ที่ว่า มัตตัญญุตา สทา สาธุ
ความรู้จักประมาณสำเร็จประโยชน์ ในการทุกเมื่อ ดังนี้. ฉะนั้น ท่านจึงจำกัดความรู้จั กประมาณไว้ 3 ประการ คือ
1.รู้จักประมาณ ในการแสวงหาเครื่องเลี้ยงชีวิ ตแต่โดยทางที่ชอบธรรม มีกสิกรรม เป็นต้น ตามควรแก่ฐานะภาวะของตน
2. รู้จักประมาณในการรับ คือรับแต่สิ่งที่ดีไม่มี โทษตามกฎหมาย เช่น ไม่ใช่ของโจร ไม่ใช่ของหนีภาษี เป็นต้น ถ้าเป็นพระ เณร ก็ไม่รับของ
ผิด พระพุทธบัญญัติ เช่น เงินทอง เป็นต้น รับแต่ปัจจัยที่สมควรแก่สมณะบริ โภค
3. รู้จักประมาณในการบริโภค คือพิจารณาเสียก่อน เว้นสิ่งที่มีโทษ บริโภคกินใช้สอยแต่สิ่งที่มี ประโยชน์ แม้สิ่งที่มี ประโยชน์นั้นก็บริโภค
แต่ พอควรแก่ความต้องการของร่างกาย ให้พอดีกับฐานะและภาวะ ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่เบียดกรอ.
5. กาลัญญุตา แปลว่า ความเป็นผู้รู้จักกาลเวลา
หมายความว่า ความรู้จักกำหนดจดจำว่า กาลเวลาไหนควรปฏิบัติกรณียะอั นใด แล้วปฏิบัติ
ให้ ตรงต่อเวลานั้น ไม่ช้าเกินควร ไม่ด่วนเกินกาล และรู้จักกรณียะบางอย่างบางคราว บางแห่ง ต้องทำให้เสร็จต่อเวลาก็ต้องรีบ จะชักช้าอยู่
ไม่ได้ ถ้าช้าอยู่ก็จัดว่าไม่รู้จั กกาลเวลา และอาจเสียประโยชน์ได้ หรือบางอย่างต้องทำหลังเวลาจึ งจะดี ถ้ารีบทำเสียก่อนเวลาก็ไม่ดี จัดว่า
ไม่รู้จักกาลเหมือนกัน อนึ่ง กาลเวลาที่ควรทำกิจนี้ แต่เอากิจอื่นมาทำ หรือเวลาที่ควรทำกิจอื่น แต่เอากิจนี้มาทำ อย่างนี้ก็ชื่อว่า ไม่รู้จัก
กาล เหมือนไก่บางตัวที่ขันไม่รู้จั กเวลา ย่อมเสียหายและน่าติเตียนมาก คนดีย่อมไม่ทำอย่างนี้ เขารู้กาลสมัย ทำราชการได้ดี มีพระพุทธ
สุภาษิต สอนว่า กาลัญญู สมยัญญู จ ส ราชวสติง วเส ผู้รู้กาลสมัย พึงอยู่ในวงราชการได้ เพราะทางราชการถือเวลาเป็นกวดขั น ผิดเวลา
ไม่ได้
6. ปริสัญญุตา แปลว่า ความเป็นผู้รู้จักชุมชน
คือความรู้จักชนชั้นต่าง ๆ เช่น ชั้นผู้ใหญ่โดยชาติ โดยวัย โดยคุณ พวกหนึ่ง ชั้นผู้น้อย
โดยชาติ โดยวัย โดยคุณ พวกหนึ่ง กิริยาวาจาที่จะใช่ต่อชนชั้นผู้ ใหญ่อย่างหนึ่ง ที่ใช้ต่อชนชั้นผู้น้อยอย่างหนึ ่ง ฉะนั้น ความรู้จักชุมชนนั้น ๆ
ด้วย แล้ว เมื่อเข้าไปหาเขา เราต้องปฏิบัติ คือใช้กิริยาวาจาให้เหมาะสมแก่ ชนนั้น ๆ
7. ปุคคลปโรปรัญญุตา แปลว่า ความเป็นผู้รู้จักบุคคลผู้ยิ่ งและผู้หย่อน หมายความว่า ความรู้จักเลือกว่า นี้เป็นผู้ยิ่งคือดี นี้ผู้หย่อนคือไม่ดี
วิธีเลือก คือ แยกบุคคลออกเป็น ๒ พวก พวกใดใคร่เห็นผู้ประเสริฐ ใคร่ฟังธรรมตั้งใจฟังจำได้ พิจารณาเนื้อความธรรมที่จำได้ รู้ทั่วถึงผล
ถึงเหตุแล้วปฏิบัติธรรมตาม สมควร เพื่อประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น พวกนี้นับว่าดี น่าสรรเสริญควรคบ ส่วนพวกที่ตรงกันข้าม เป็นคนไม่ดี น่า
ตำหนิ ไม่ควรคบ เมื่อคัดเลือกออกเป็น ๒ พวกแล้ว ก็คบเฉพาะกับคนดี ไม่คบคนไม่ดี จึงจะเป็นคนดี สมด้วยพระบาลีว่า ยัง เว เสวติ ตาทิ
โส คบคนใดก็เป็นคนเช่นนั้น ดังนี้.
แปลว่า การคบสัตบุรุษ สัตบุรุษ เป็นภาษาสันสกฤต แปลว่า คนดี คนสงบ ตรงกับภาษาบาลีว่า สัปปุริสะ ผู้ที่เป็นสัตบุรุษหรือสัปปุริ
1. รู้เหตุ
2. รู้ผล
3. รู้ตน
4. รู้ประมาณ
5. รู้กาล
6. รู้ชุมชน
7. รู้บุคคล
การเข้าไปคบหา ได้แก่ การเข้าไปสนทนาไต่ถาม มอบตัวเป็นศิษย์ รับโอวาทของสัตบุรุษ
เมื่ออยู่ในท้องถิ่นที่มีสัตบุ
แนะนำ ให้รู้จักบาปบุญคุณโทษ ประโยชน์มิใช่ประโยชน์ ให้รู้จักเว้นชั่วประพฤติดี ละสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์
เดียว
1. ธัมมัญญุตา แปลว่า ความเป็นผู้รู้จักเหตุ
หมายความว่า ความรู้จักหัวข้อธรรม หัวข้อวินัย อันเป็นเหตุแห่งความสุข และแห่งความทุกข์
เช่น อโลภะ ความไม่โลภ อโทสะ ความไม่โกรธ อโมหะ ความไม่หลง เป็นเหตุแห่งความสุข โลภะ ความโลภ โทสะ ความโกรธ โมหะ
ความหลง เป็นเหตุแห่งความทุกข์ เป็นต้น.
2. อัตถัญญุตา แปลว่า ความเป็นผู้รู้จักผล
หมายความว่า ความรู้จักเนื้
เป็น ผลแห่งหัวข้อธรรมวินัยที่เป็
ต้น
3. อัตตัญญุตา แปลว่า ความเป็นผู้รู้จักตน
หมายความว่า ความรู้จักฐานะภาวะที่ตนมีอยู่
ชาติ ตระกูลใด มียศศักดิ์อย่างไร มีสมบัติเท่าไร มีบริวารเป็นอย่างไร มีความรู้ทางโลกเท่าไร ความรู้ทางธรรมเท่าไร และมีคุณธรรม คือ
สัทธา สีล สุตะ จาคะ ปัญญา ปฏิภาณเท่าไร เมื่อรู้จักแล้วต้องวางตนให้
ไตรทวารสม่ำเสมอ ไม่เย่อหยิ่งอวดดี อวดมั่งอวดมีอวดรู้ โบราณท่านสอนว่าให้หมั่นตักน้
ประพฤติตนให้เหมาะสมแก่
4. มัตตัญญุตา แปลว่า ความเป็นผู้รู้จักประมาณ รู้จักพอดี
หมายความว่า จะทำอะไร จะพูดอะไร จะคิดอะไร ก็ให้รู้จักประมาณ พอดี พองาม,
ไม่ มาก ไม้น้อย, ไม่ขาด ไม่เกิน, ไม่ตึง ไม่หย่อน, ไม่อ่อนปวกเปียก ไม่แข็งกร้าว ไม่เกิดโทษแก่ใคร ๆ มีแต่เกิดประโยชน์แก่บุคคลทั่ว
ไป ในกาลทุกเมื่อ ดังธรรมสุภาษิต ที่ว่า มัตตัญญุตา สทา สาธุ
ความรู้จักประมาณสำเร็จประโยชน์
1.รู้จักประมาณ ในการแสวงหาเครื่องเลี้ยงชีวิ
2. รู้จักประมาณในการรับ คือรับแต่สิ่งที่ดีไม่มี
ผิด พระพุทธบัญญัติ เช่น เงินทอง เป็นต้น รับแต่ปัจจัยที่สมควรแก่สมณะบริ
3. รู้จักประมาณในการบริโภค คือพิจารณาเสียก่อน เว้นสิ่งที่มีโทษ บริโภคกินใช้สอยแต่สิ่งที่มี
แต่ พอควรแก่ความต้องการของร่างกาย ให้พอดีกับฐานะและภาวะ ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่เบียดกรอ.
5. กาลัญญุตา แปลว่า ความเป็นผู้รู้จักกาลเวลา
หมายความว่า ความรู้จักกำหนดจดจำว่า กาลเวลาไหนควรปฏิบัติกรณียะอั
ให้ ตรงต่อเวลานั้น ไม่ช้าเกินควร ไม่ด่วนเกินกาล และรู้จักกรณียะบางอย่างบางคราว บางแห่ง ต้องทำให้เสร็จต่อเวลาก็ต้องรีบ จะชักช้าอยู่
ไม่ได้ ถ้าช้าอยู่ก็จัดว่าไม่รู้จั
ไม่รู้จักกาลเหมือนกัน อนึ่ง กาลเวลาที่ควรทำกิจนี้ แต่เอากิจอื่นมาทำ หรือเวลาที่ควรทำกิจอื่น แต่เอากิจนี้มาทำ อย่างนี้ก็ชื่อว่า ไม่รู้จัก
กาล เหมือนไก่บางตัวที่ขันไม่รู้จั
สุภาษิต สอนว่า กาลัญญู สมยัญญู จ ส ราชวสติง วเส ผู้รู้กาลสมัย พึงอยู่ในวงราชการได้ เพราะทางราชการถือเวลาเป็นกวดขั
ไม่ได้
6. ปริสัญญุตา แปลว่า ความเป็นผู้รู้จักชุมชน
คือความรู้จักชนชั้นต่าง ๆ เช่น ชั้นผู้ใหญ่โดยชาติ โดยวัย โดยคุณ พวกหนึ่ง ชั้นผู้น้อย
โดยชาติ โดยวัย โดยคุณ พวกหนึ่ง กิริยาวาจาที่จะใช่ต่อชนชั้นผู้
ด้วย แล้ว เมื่อเข้าไปหาเขา เราต้องปฏิบัติ คือใช้กิริยาวาจาให้เหมาะสมแก่
7. ปุคคลปโรปรัญญุตา แปลว่า ความเป็นผู้รู้จักบุคคลผู้ยิ่
วิธีเลือก คือ แยกบุคคลออกเป็น ๒ พวก พวกใดใคร่เห็นผู้ประเสริฐ ใคร่ฟังธรรมตั้งใจฟังจำได้ พิจารณาเนื้อความธรรมที่จำได้ รู้ทั่วถึงผล
ถึงเหตุแล้วปฏิบัติธรรมตาม สมควร เพื่อประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น พวกนี้นับว่าดี น่าสรรเสริญควรคบ ส่วนพวกที่ตรงกันข้าม เป็นคนไม่ดี น่า
ตำหนิ ไม่ควรคบ เมื่อคัดเลือกออกเป็น ๒ พวกแล้ว ก็คบเฉพาะกับคนดี ไม่คบคนไม่ดี จึงจะเป็นคนดี สมด้วยพระบาลีว่า ยัง เว เสวติ ตาทิ
โส คบคนใดก็เป็นคนเช่นนั้น ดังนี้.
สัปปุริสธรรมอีก 7 อย่าง
1. สัตบุรุษ ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ คือ มีศรัทธา มีความละอายต่อบาป มีความกลัวต่อบาป เป็นคนได้ยินได้ฟังมากเป็นคนมี ความ
เพียร เป็นคนมีสติมั่นคง เป็นคนมีปัญญา.
2. จะปรึกษาสิ่งใด ๆ กับใคร ๆ ก็ไม่ปรึกษา[/b] เพื่อจะเบียดเบียนตนและผู้อื่น.
3. จะคิดสิ่งใด ก็ไม่คิด เพื่อจะเบียดเบียนตนและผู้อื่น.
4. จะพูดสิ่งใด ก็ไม่พูด เพื่อจะเบียดเบียนตนและผู้อื่น.
5. จะทำสิ่งใด ก็ไม่ทำ เพื่อจะเบียดเบียนตนและผู้อื่น.
6. มีความเห็นชอบ เห็นว่า ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นต้น.
7. ให้ทานโดยเคารพ คือ เอื้อเฟื้อแก่ของที่ตัวให้ และผู้รับทานนั้นไม่ทำอาการดุ จทิ้งเสีย.
อธิบายข้อธรรม
1. มีศรัทธา (อธิบายแล้วข้างต้น)
2. 3. 4. 5. หมายความว่า ธรรมดาสัตบุรุษเมื่อปรึกษา คือสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็ นกับผู้อื่นก็ตาม จะคิดตามลำพังตนก็ตาม จะพูดให้
ใครฟังก็ตาม จะทำการใดก็ตาม มุ่งความสงบสุขแก่ทุกฝ่าย ไม่ให้ใคร ๆ เดือดร้อนเพราะพฤติกรรมของตน ทำตนให้มีกาย วาจา ใจ สงบ
บริสุทธิ์ ครบไตรทวารด้วยสุจริต ๓ อย่าง.
6. มีความเห็นชอบ
7. ให้ทานโดยเคารพ มี 2 อย่าง คือ
1) เคารพใน ทาน คือของที่ให้
2) เคารพในผู้รับทาน คือผู้รับของที่ให้
หมายความว่า เมื่อมีของที่ควรให้ มีศรัทธาจะให้ มีผู้รับพร้อม ก็ให้ด้วยความเอื้อเฟื้อ
ไม่แสดงกิริยาทางกาย ทางวาจาหยาบคาย เป็นเชิงดูหมิ่น ในของที่ให้หรือในคนผู้รับของนั ้น
แสดงกิริยาสุภาพเรียบร้ อยในการให้.
สัปปุริสธรรม ตัดบทเป็น สัง แปลว่า ดี หรือ สันตะ แปลว่าผู้สงบ บุริสะ แปลว่า คน
รวมเข้าเป็น สัปปุริสะ หรือ สัตบุรุษ (อ่านว่า สัดบุหรุด) แปลว่า คนดี หรือคนสงบ.
สัปปุริสะ + ธรรม = สัปปุริสธรรม แปลว่า ธรรมของคนดี ธรรมของคนสงบ หมายถึง สมบัติผู้ดี
หรือ ธรรมสมบัติ หรือ คุณสมบัติของผู้ดี. กล่าวคือธรรมที่ทำคนให้เป็นคนดี . ใครก็ตามเมื่อมีธรรมของ
สัตบุรุษ ก็ย่อมเป็นคนดี, ถ้าไม่มีก็เป็นคนดีไม่ได้
สัปปุริสธรรม มี 2 หมวด ๆ ละ 7 จึงเรียกว่า สัปปุริสธรรม 7
1. สัตบุรุษ ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ คือ มีศรัทธา มีความละอายต่อบาป มีความกลัวต่อบาป เป็นคนได้ยินได้ฟังมากเป็นคนมี
เพียร เป็นคนมีสติมั่นคง เป็นคนมีปัญญา.
2. จะปรึกษาสิ่งใด ๆ กับใคร ๆ ก็ไม่ปรึกษา[/b] เพื่อจะเบียดเบียนตนและผู้อื่น.
3. จะคิดสิ่งใด ก็ไม่คิด เพื่อจะเบียดเบียนตนและผู้อื่น.
4. จะพูดสิ่งใด ก็ไม่พูด เพื่อจะเบียดเบียนตนและผู้อื่น.
5. จะทำสิ่งใด ก็ไม่ทำ เพื่อจะเบียดเบียนตนและผู้อื่น.
6. มีความเห็นชอบ เห็นว่า ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เป็นต้น.
7. ให้ทานโดยเคารพ คือ เอื้อเฟื้อแก่ของที่ตัวให้ และผู้รับทานนั้นไม่ทำอาการดุ
อธิบายข้อธรรม
1. มีศรัทธา (อธิบายแล้วข้างต้น)
2. 3. 4. 5. หมายความว่า ธรรมดาสัตบุรุษเมื่อปรึกษา คือสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็
ใครฟังก็ตาม จะทำการใดก็ตาม มุ่งความสงบสุขแก่ทุกฝ่าย ไม่ให้ใคร ๆ เดือดร้อนเพราะพฤติกรรมของตน ทำตนให้มีกาย วาจา ใจ สงบ
บริสุทธิ์ ครบไตรทวารด้วยสุจริต ๓ อย่าง.
6. มีความเห็นชอบ
7. ให้ทานโดยเคารพ มี 2 อย่าง คือ
1) เคารพใน ทาน คือของที่ให้
2) เคารพในผู้รับทาน คือผู้รับของที่ให้
หมายความว่า เมื่อมีของที่ควรให้ มีศรัทธาจะให้ มีผู้รับพร้อม ก็ให้ด้วยความเอื้อเฟื้อ
ไม่แสดงกิริยาทางกาย ทางวาจาหยาบคาย เป็นเชิงดูหมิ่น ในของที่ให้หรือในคนผู้รับของนั
แสดงกิริยาสุภาพเรียบร้
สัปปุริสธรรม ตัดบทเป็น สัง แปลว่า ดี หรือ สันตะ แปลว่าผู้สงบ บุริสะ แปลว่า คน
รวมเข้าเป็น สัปปุริสะ หรือ สัตบุรุษ (อ่านว่า สัดบุหรุด) แปลว่า คนดี หรือคนสงบ.
สัปปุริสะ + ธรรม = สัปปุริสธรรม แปลว่า ธรรมของคนดี ธรรมของคนสงบ หมายถึง สมบัติผู้ดี
หรือ ธรรมสมบัติ หรือ คุณสมบัติของผู้ดี. กล่าวคือธรรมที่ทำคนให้เป็นคนดี
สัตบุรุษ ก็ย่อมเป็นคนดี, ถ้าไม่มีก็เป็นคนดีไม่ได้
สัปปุริสธรรม มี 2 หมวด ๆ ละ 7 จึงเรียกว่า สัปปุริสธรรม 7
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น