Iut Tui | 14 เมษายน 18:48 |
สาธุ
โจรทำ บุญ ไม่ได้หรอก
ด้วยโจรทำได้แค่ เสี้ยวบุญ หรือ เศษบุญเท่านั้น
เพราะบุญไม่ใช่มีแค่ ..ทาน เพียงอย่างเดียว ซึ่งเชื่อว่า
สมาชิกเพื่อนธรรมทั้งหลาย น่าจะทราบเรื่องนี้ดีเป็นอย่ างดี
และ หากจะมองว่าโจรให้ทานได้ ก็ยังไม่สามารถ
ให้ทานได้เต็มคำว่า “ทาน” ที่แท้จริง
เพราะ ทาน ยังจำแนกออกเป็น ๓ คือ
@ อามิสทาน
@ อภัยทาน
@ ธรรมทาน
โจร จึงไม่ได้ทำ ทาน ที่สมบูรณ์ ตามความหมาย ของ ศาสนา นี้
ด้วยเหตุผลว่า...
แม้_ โจรอาจจะ ให้ _สิ่งของได้
แต่_ โจรให้ อภัย_ กับผู้อื่น ไม่ได้
เพราะ_ โจรนั้นยังเป็น ผู้สร้างภัย_ให้ผู้อื่นอยู่
บุญ ต้องหมายถึง บุญบารมี ซึ่ง
“บุญ” นั้นแปลว่า ความดี
ส่วน
“บารมี” นั้นแปลว่า เติมเต็ม
บุญบารมี จึงหมายถึง เติมให้เต็มทั้ง ๑๐ บุญ
ไม่ได้ต้องการคัดค้าน ..ครูบาอาจารย์
แต่เชื่อมั่นว่า
การสอน ธรรม ของ ผู้ฉลาดในการสอน
ท่านไม่ได้มุ่งจะสอนใน “สิ่งที่ท่านรู้” แต่
ท่านมุ่งจะสอนในสิ่งที่ “ผู้ฟังยังไม่รู้”
สิ่งที่ผู้สอน “รู้” นั้นมีมาก จึงไม่ใช่สิ่งควรที่ผู้สอนจะป้ อน
ในสิ่งที่ท่านรู้ให้ผู้ฟังทั้ งหมด เพราะมันเยอะเกิน
การสอนของท่านนั้นจึงต้ องมองไปที่ผู้ฟังเป็นหลัก
ว่าพวกเขาต้องแก้ไข ในเรื่องอะไรก่อน
ชาวบ้าน หนองป่าพง ในสมัยนั้น เป็นแดนไกล เป็นแดนป่า แดนเถื่อน
ผู้คนยังคงดำเนินชีวิตด้วยการล่ าสัตว์บ้าง หรือ ยังกินเหล้ากันเป็นปกติ
คงหาผู้ที่มีศีลเป็นปกติ ทำยายาก
ล.ป. ท่านจึงต้องให้ ชาวบ้านพวกนั้น ทำข้อแรกของหัวใจศาสนา
ในโอวาทปาฏิโมกข์ให้ได้ก่อน
..ด้วย
ขั้นที่ ๑ ละชั่วให้ได้ ยังไม่ได้ต้องถึง
ขั้นที่ ๒ คือทำจิตให้เป็นกุศล (โดยอาศัย สะพานบุญ ไปให้ถึงคำว่า กุศล)
ซึ่งเป็นเรื่องเกินกว่าศาสนาอื่ นๆ ที่สอนได้ถึงคำว่า “ทำดี”
แต่ไม่ถึงคำว่าทำให้จิตเป็นกุศล หรือ กุศลจิต
“บุญ” เกิดเพียงอย่างใดอย่างเดียวใน ๑๐ อย่าง ก็เป็นการทำ บุญ แล้ว แต่
“กุศล” นั้น ต้องมีพร้อมในขณะจิตนั้นทั้ง ๑๐ ประการจึงจะเป็นจิตที่เป็น
“กุศลจิต” ได้
(คำว่า กุศล ในสมัยนั้นคือก่อนพุทธกาลเป็ นเพียงความหมาย
แค่ ”ความฉลาด”เท่านั้น แต่พระพุทธองค์ทรงนำสิ่งที่ เขาคุ้นเคย
มาสอนจึงเป็น กุศลจิต
ซึ่งในข้อที่ ๑๐ ของกุศลกรรมบท คือ สัมมาทิฏฐิ หรือ
การมีความเห็นที่ถูกต้ องตามคลองธรรม ของศาสนานี้)
ความหมายของบุญ ต้องหมายถึง "บุญบารมี" แปลว่า
เติมเต็ม ความดี นั่นต้องควบรวมความดีทั้ง ๑๐ ด้วย
เรื่อง ศีล ก็เป็นบุญที่ ๒ จาก ๑๐ บุญ
หากเราจะสอน คนไม่ฉลาด (คือคนที่ไม่มีกุศลจิต) ก็อาจสอนว่า
ยังไม่ต้องทำ_ บุญ แต่ต้อง..
หยุดทำ_ บาป
หากจะสอน คนฉลาด (คือคนที่มีจิตเป็นกุศล อยู่แล้ว) ก็อาจสอนว่า
เราได้ทำ บุญ ด้วยการ
@ ให้ “อามิสทาน” หรือ ข้าวของเป็นทาน แล้ว เราก็ควรพัฒนาการให้ ด้วย...
@ ทานในขั้นที่สูงขึ้นคือ “อภัยทาน” เพราะการรักษาศีลนั้น ก็คือ
การไม่สร้าง เวรภัย ต่อตนเอง และ ผู้อื่น
เมื่อมีศีล คือการมี อภัยทาน อยู่ในตัว
เพราะจะเป็นผู้ไม่เบียดเบี ยนใครอีกต่อไป
หากเราเป็นผู้มี อภัยทาน เป็นปกติคือมีศีล แล้ว
ก็ต้องพัฒนา ให้สูงขึ้นในการให้ทาน ขั้นสูงสุด คือ
@ การให้ ธรรมทาน
แม้ ธรรม ก็ไม่ได้มีเพียงระดับเดียวมีทั้ ง
• ธรรมในเบื้องต่ำ เพื่อ “การใช้ชีวิตในโลก” อย่างผาสุข อันเป็น ธรรมคู่ และ
• ธรรมในเบื้องสูง เพื่อ “การพ้นจากโลก” จากวัฎฎะสังสาร อันเป็น ธรรมเอก
ซึ่งเป็นเป้าหมายที่แท้จริง ในความหมายของคำว่า ธรรมทาน
เริ่มด้วย
๑ กัน . คือ การไม่ทำ บาป หรือความชั่ว ด้วยการละเมิด ศีล ทั้งหลาย
๒ แก้ . คือ การแก้ อกุศล ที่มีในใจออกเสีย เพราะแม้กระทำบุญ ๙ ข้อแรกอยู่
แต่จิตก็ยัง ..อาจ.. เป็นจิต “อกุศล” ได้เช่น ให้ทานในขณะมีความรู้สึกโกรธ
แม้กายทำ บุญ แต่จิตกลับเป็น อกุศล ดังนั้นจึงต้องละ นิวรณ์ อยู่เสมอ
๓ ก่อ . คือ การสร้าง กุศล ที่ยังไม่มีในใจให้เกิดขึ้นมี เช่น สมาธิจิต
๔ เก็บ. คือ การรักษา กุศล ที่เกิดมีขึ้นแล้วให้ตั้งขึ้ นได้อย่างมั่นคง
ทรงสมาธิจิต นั้นไว้ให้ได้นานขึ้นๆ ให้เป็นฐานของจิตเพื่อ
เห็น สัจจะ หรือความจริงที่แท้จริงของสิ่ งทั้งปวงนั่นคือ อริยสัจ
อันเป็นเป้าหมายสูงสุดของทุกคน
โจรทำ บุญ ไม่ได้หรอก
ด้วยโจรทำได้แค่ เสี้ยวบุญ หรือ เศษบุญเท่านั้น
เพราะบุญไม่ใช่มีแค่ ..ทาน เพียงอย่างเดียว ซึ่งเชื่อว่า
สมาชิกเพื่อนธรรมทั้งหลาย น่าจะทราบเรื่องนี้ดีเป็นอย่
และ หากจะมองว่าโจรให้ทานได้ ก็ยังไม่สามารถ
ให้ทานได้เต็มคำว่า “ทาน” ที่แท้จริง
เพราะ ทาน ยังจำแนกออกเป็น ๓ คือ
@ อามิสทาน
@ อภัยทาน
@ ธรรมทาน
โจร จึงไม่ได้ทำ ทาน ที่สมบูรณ์ ตามความหมาย ของ ศาสนา นี้
ด้วยเหตุผลว่า...
แม้_ โจรอาจจะ ให้ _สิ่งของได้
แต่_ โจรให้ อภัย_ กับผู้อื่น ไม่ได้
เพราะ_ โจรนั้นยังเป็น ผู้สร้างภัย_ให้ผู้อื่นอยู่
บุญ ต้องหมายถึง บุญบารมี ซึ่ง
“บุญ” นั้นแปลว่า ความดี
ส่วน
“บารมี” นั้นแปลว่า เติมเต็ม
บุญบารมี จึงหมายถึง เติมให้เต็มทั้ง ๑๐ บุญ
ไม่ได้ต้องการคัดค้าน ..ครูบาอาจารย์
แต่เชื่อมั่นว่า
การสอน ธรรม ของ ผู้ฉลาดในการสอน
ท่านไม่ได้มุ่งจะสอนใน “สิ่งที่ท่านรู้” แต่
ท่านมุ่งจะสอนในสิ่งที่ “ผู้ฟังยังไม่รู้”
สิ่งที่ผู้สอน “รู้” นั้นมีมาก จึงไม่ใช่สิ่งควรที่ผู้สอนจะป้
ในสิ่งที่ท่านรู้ให้ผู้ฟังทั้
การสอนของท่านนั้นจึงต้
ว่าพวกเขาต้องแก้ไข ในเรื่องอะไรก่อน
ชาวบ้าน หนองป่าพง ในสมัยนั้น เป็นแดนไกล เป็นแดนป่า แดนเถื่อน
ผู้คนยังคงดำเนินชีวิตด้วยการล่
คงหาผู้ที่มีศีลเป็นปกติ ทำยายาก
ล.ป. ท่านจึงต้องให้ ชาวบ้านพวกนั้น ทำข้อแรกของหัวใจศาสนา
ในโอวาทปาฏิโมกข์ให้ได้ก่อน
..ด้วย
ขั้นที่ ๑ ละชั่วให้ได้ ยังไม่ได้ต้องถึง
ขั้นที่ ๒ คือทำจิตให้เป็นกุศล (โดยอาศัย สะพานบุญ ไปให้ถึงคำว่า กุศล)
ซึ่งเป็นเรื่องเกินกว่าศาสนาอื่
แต่ไม่ถึงคำว่าทำให้จิตเป็นกุศล หรือ กุศลจิต
“บุญ” เกิดเพียงอย่างใดอย่างเดียวใน ๑๐ อย่าง ก็เป็นการทำ บุญ แล้ว แต่
“กุศล” นั้น ต้องมีพร้อมในขณะจิตนั้นทั้ง ๑๐ ประการจึงจะเป็นจิตที่เป็น
“กุศลจิต” ได้
(คำว่า กุศล ในสมัยนั้นคือก่อนพุทธกาลเป็
แค่ ”ความฉลาด”เท่านั้น แต่พระพุทธองค์ทรงนำสิ่งที่
มาสอนจึงเป็น กุศลจิต
ซึ่งในข้อที่ ๑๐ ของกุศลกรรมบท คือ สัมมาทิฏฐิ หรือ
การมีความเห็นที่ถูกต้
ความหมายของบุญ ต้องหมายถึง "บุญบารมี" แปลว่า
เติมเต็ม ความดี นั่นต้องควบรวมความดีทั้ง ๑๐ ด้วย
เรื่อง ศีล ก็เป็นบุญที่ ๒ จาก ๑๐ บุญ
หากเราจะสอน คนไม่ฉลาด (คือคนที่ไม่มีกุศลจิต) ก็อาจสอนว่า
ยังไม่ต้องทำ_ บุญ แต่ต้อง..
หยุดทำ_ บาป
หากจะสอน คนฉลาด (คือคนที่มีจิตเป็นกุศล อยู่แล้ว) ก็อาจสอนว่า
เราได้ทำ บุญ ด้วยการ
@ ให้ “อามิสทาน” หรือ ข้าวของเป็นทาน แล้ว เราก็ควรพัฒนาการให้ ด้วย...
@ ทานในขั้นที่สูงขึ้นคือ “อภัยทาน” เพราะการรักษาศีลนั้น ก็คือ
การไม่สร้าง เวรภัย ต่อตนเอง และ ผู้อื่น
เมื่อมีศีล คือการมี อภัยทาน อยู่ในตัว
เพราะจะเป็นผู้ไม่เบียดเบี
หากเราเป็นผู้มี อภัยทาน เป็นปกติคือมีศีล แล้ว
ก็ต้องพัฒนา ให้สูงขึ้นในการให้ทาน ขั้นสูงสุด คือ
@ การให้ ธรรมทาน
แม้ ธรรม ก็ไม่ได้มีเพียงระดับเดียวมีทั้
• ธรรมในเบื้องต่ำ เพื่อ “การใช้ชีวิตในโลก” อย่างผาสุข อันเป็น ธรรมคู่ และ
• ธรรมในเบื้องสูง เพื่อ “การพ้นจากโลก” จากวัฎฎะสังสาร อันเป็น ธรรมเอก
ซึ่งเป็นเป้าหมายที่แท้จริง ในความหมายของคำว่า ธรรมทาน
เริ่มด้วย
๑ กัน . คือ การไม่ทำ บาป หรือความชั่ว ด้วยการละเมิด ศีล ทั้งหลาย
๒ แก้ . คือ การแก้ อกุศล ที่มีในใจออกเสีย เพราะแม้กระทำบุญ ๙ ข้อแรกอยู่
แต่จิตก็ยัง ..อาจ.. เป็นจิต “อกุศล” ได้เช่น ให้ทานในขณะมีความรู้สึกโกรธ
แม้กายทำ บุญ แต่จิตกลับเป็น อกุศล ดังนั้นจึงต้องละ นิวรณ์ อยู่เสมอ
๓ ก่อ . คือ การสร้าง กุศล ที่ยังไม่มีในใจให้เกิดขึ้นมี เช่น สมาธิจิต
๔ เก็บ. คือ การรักษา กุศล ที่เกิดมีขึ้นแล้วให้ตั้งขึ้
ทรงสมาธิจิต นั้นไว้ให้ได้นานขึ้นๆ ให้เป็นฐานของจิตเพื่อ
เห็น สัจจะ หรือความจริงที่แท้จริงของสิ่
อันเป็นเป้าหมายสูงสุดของทุกคน
สาธุค่ะ
ตอบลบสาธุค่ะ
ตอบลบ