Iut Tui | 12 มีนาคม 19:37 |
ร่วม รายงาน บุญ ๑๐ (กา) ในวันที่ สามารถทำ ได้
๑ (ไก่) อ่อนน้อม ถ่อมตน
กาย - กราบเบญจางคประดิษฐ์
วาจา - กล่าวในใจว่า
ขอบูชาอภิวาท พระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วย /// ปทุมทอง (ใช้จินตภาพ)
ขอบูชานมัสการ พระธรรม ด้วย /// มะลิแก้ว (ใช้จินตภาพ)
ขอบูชานอบน้อม พระสงฆ์ ด้วย /// มาลัย ๖ สี (ใช้จินตภาพ)
แดง ดำ คล้ำ ข้าว ขาว ใส ใจ - สร้างจินตภาพด้วยของบูชานั้นๆ
๒ (งู) แข็งขันช่วยการงาน ///เช็ดรูปพระพุทธฯ
๓ (เด็ก) ทาน ///
วัตถุทาน ตั้งใจไว้ในการนำอาหารที่มีในวั นรุ่งขึ้นให้ ผู้มีคุณ
ตลอดถึง สัตว์ที่จะให้ได้
อภัยทาน ละความไม่พอใจที่มีในระหว่างวั นออกโดยพิจารณาอารมณ์
ที่เกิดขึ้น
ว่าสิ่งนี้ไม่ใช่สิ่งดี ที่ควรมีไว้ในครอบครอง
ธรรมทาน ทวนเครื่องมือความจำ เลขนูร้อย-บอลพัน เพื่อนำไปถ่ายทอดให้คน
อื่นต่อไป
๔ (หนู) ศีล
ระลึกถึงศีล ข้อที่หย่อนไป ก็ตั้งใจในเรื่องนั้นให้มากขึ้น
๕ (ใบไม้) ภาวนา
สมถะ /// บังคับดวงสว่าง "ภาพปาฏิหาริย์กสิณแก้วสมบูรณ์" เลื่อน ขึ้น-ลง
เดินแนวแถบแสง ตามจังหวะการหายใจเข้า-ออก
วิปัสสนา ///
วิปัสสนาญาณ ๙
๑. อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ พิจารณาเห็นความเกิดและความดับ
๒. ภังคานุปัสสนาญาณ พิจารณาเห็นความดับ
๓. ภยตูปัฎฐานญาณ พิจารณาเห็นสังขารเป็นของน่ากลั ว
๔. อาทีนวานุปัสสนาญาณ พิจารณาเห็นโทษของสังขาร
๕. นิพพิทานุปัสสนาญาณ พิจารณาสังขารเห็นเป็นของน่าเบื ่อหน่าย
๖. มุญจิตุกามยตาญาณ พิจารณาเพื่อใคร่จะให้พ้นจากสั งขารไปเสีย
๗. ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ พิจารณาหาทางที่จะให้พ้นจากสั งขาร
๘. สังขารุเปกขาญาณ พิจารณาเห็นว่า ควรวางเฉยในสังขาร
๙. สัจจานุโลมิกญาณ พิจารณาอนุโลมในญาณทั้ง ๘ นั้น เพื่อกำหนดรู้ในอริยสัจ
๖ (ม้า) อนุโมทนากับ
๑ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
๒ พระปัจเจกะพุทธเจ้า
๓ พระอนุพุทธเจ้า
๔ สุตตพุทธเจ้า
๕ ทุกรูป-นาม ที่ประพฤติบุญ
๗ (ยักษ์) ฟังธรรม
“ บัณฑิตรู้ข้อแตกต่างระหว่ างความประมาทกับความไม่ประมาท
จึงยินดีในความไม่ประมาท อันเป็นแนวทางของพระอริยะ ”
๘ (แหวน) แสดงธรรมขอเชิญโอปปาติกะ มาฟังธรรม
“ บัณฑิตนั้น รู้ว่าความประมาทคือ คือความเข้าใจว่าชีวิตนี้ไม่ใช่ สิ่งแน่นอนว่า
จะมีชีวิตได้อีกยาวนานเท่าใด หากอ้าง ร้อน หนาว หิว กระหาย ง่วง เพลีย แล้ว
ผลัดวันประกันพรุ่ง นั่นคือสิ่งที่จะต้องเสี ยใจภายหลังได้เพราะหมดโอกาสแล้ วที่จะ
ทำความดี เรารู้ว่าเรายังมีโอกาสทำความดี ได้ เฉพาะปัจจุบันขณะเท่านั้น
แม้นาทีข้างหน้า เราหรือใครๆ ก็ไม่อาจมีใครรู้ได้เลย
ว่าสิ่งที่เราไม่ปรารถนานั้ นจะมาถึงเมื่อไร
ส่วนคนพาล หรือคนไม่รู้นั้น ย่อมเกียจคร้านเป็นนิจ เพราะไม่เคยคิดว่าชีวิตเป็น
ของไม่แน่นอน แต่มักคิดเข้าข้างตัวเองว่า ว้นนี้ยังอยู่ พรุ่งนี้ก็ยังอยู่เหมือนวันนี้
ทั้งที่ทุกคนต้องตาย แต่พวกเขาไม่เคยมีมุมมองว่าตั วเองจะต้องตาย แม้รู้ว่ามีคนตาย
ทุกวัน แต่คนพาลกลับไม่เคยสามารถมองย้ อนเข้ามาหาตัวเองได้เลย
ว่าเขาก็จะต้องตายเหมือนกัน
เมื่อเขาคิดว่าชีวิตนี้ยังอี กนาน จึงยังไม่คิดจะรีบในการทำความดี
มักจะคิดว่ารออายุมากก่อนจึงเข้ าวัด ปฏิบัติธรรม
นี่คือความคิดของคนพาลโดยแท้
พระพุทธองค์ทรงสรรเสริญ ความไม่ประมาทว่าเป็นธรรมที่มี คุณค่าสำคัญมาก
เป็นธรรมที่เสมือน รอยตีนสัตว์ใหญ่อย่างช้าง ที่สามารถครอบรอยตีนของสัตว์เล็ ก
ทั้งหลายได้หมด
บัณฑิตผู้ไม่ประมาท ย่อมระลึกถึงความตายเป็นอารมณ์ แม้พระองค์
ก็ทรงระลึกถึงความตายอยู่ทุ กลมหายใจเข้าออก
หากใครมิใช่คนพาล เขาก็ควรระลึกถึงความตาย อยู่เสมอ
เมื่อไรประมาท เมื่อนั้นคือคนพาล เขาคือคนที่ตายแล้ว
การมีชีวิตอยู่ของเขา สูญประโยชน์ไปในทันที เพราะคำนี้เพียงคำเดียว
คำว่า ประมาท ท่านทั้งหลายรู้สึกตัวรึยังว่า
ท่านก็จะมีชีวิตที่จะต้ องหมดไปเช่นกัน
วันนี้ท่านพร้อมสำหรับกาลนั้น.. . แล้วรึยัง?
๙ (อ่าง) ทำความเห็นให้ถูกตรง
เบื้องต่ำ /// ทวนในใจว่า ทาน ยัญ สังเวย ... มีผล
ผลกรรม ...เป็นตาม กรรม
พ่อ แม่ ...มีคุณแก่เรา
ชาตินี้-ชาติหน้า ...มี
โอปะปาติกะ ...มี
พระอรหันต์ ...บรรลุธรรมได้จริง
เบื้องสูง /// พิจารณา
พิจารณา ไตรลักษณ์
อนิจจัง ชีวิตในแต่ละวัน แต่ละนาที ไม่มีความแน่นอนว่ายังจะมีชีวิ ตได้
อีกนานเท่าไหร่
ทุกขัง ทุกวัน ทุกนาที ร่างนี้ก็เสื่อมสภาพลงไปเรื่อยๆ ต้องถึงจุดที่แตกสลายในที่สุด
หนีไม่ได้ ไม่ว่าใคร
อนัตตา เราไม่อาจควบคุมกายนี้ - ใจนี้ ให้เป็นไปตามความพอใจของเราได้ เลย
๑๐ (กา) อุทิศบุญ ผลบุญใดที่ได้ทำในครั้งนี้ขออุ ทิศ ให้ ๓ กลุ่ม คือ
๑ ผู้มีคุณ พ่อ, แม่, ครู, ผู้ให้ความสุขกาย - สบายใจ
๒ ผู้มีโทษ ที่เคยได้ล่วงเกิน -ชีวิต -ร่างกาย -ทรัพย์สิน -คนรัก หรือชวนไปทางอบายมุข
๓ ผู้ไม่มีคุณ-ไม่มีโทษ โอปะปาติกะทั้งหลายที่ปรารถนาส่ วนบุญ
นับคำข้าว เช้า มุม(๖๖)
๑ (ไก่) อ่อนน้อม ถ่อมตน
กาย - กราบเบญจางคประดิษฐ์
วาจา - กล่าวในใจว่า
ขอบูชาอภิวาท พระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วย /// ปทุมทอง (ใช้จินตภาพ)
ขอบูชานมัสการ พระธรรม ด้วย /// มะลิแก้ว (ใช้จินตภาพ)
ขอบูชานอบน้อม พระสงฆ์ ด้วย /// มาลัย ๖ สี (ใช้จินตภาพ)
แดง ดำ คล้ำ ข้าว ขาว ใส ใจ - สร้างจินตภาพด้วยของบูชานั้นๆ
๒ (งู) แข็งขันช่วยการงาน ///เช็ดรูปพระพุทธฯ
๓ (เด็ก) ทาน ///
วัตถุทาน ตั้งใจไว้ในการนำอาหารที่มีในวั
ตลอดถึง สัตว์ที่จะให้ได้
อภัยทาน ละความไม่พอใจที่มีในระหว่างวั
ที่เกิดขึ้น
ว่าสิ่งนี้ไม่ใช่สิ่งดี ที่ควรมีไว้ในครอบครอง
ธรรมทาน ทวนเครื่องมือความจำ เลขนูร้อย-บอลพัน เพื่อนำไปถ่ายทอดให้คน
อื่นต่อไป
๔ (หนู) ศีล
ระลึกถึงศีล ข้อที่หย่อนไป ก็ตั้งใจในเรื่องนั้นให้มากขึ้น
๕ (ใบไม้) ภาวนา
สมถะ /// บังคับดวงสว่าง "ภาพปาฏิหาริย์กสิณแก้วสมบูรณ์"
เดินแนวแถบแสง ตามจังหวะการหายใจเข้า-ออก
วิปัสสนา ///
วิปัสสนาญาณ ๙
๑. อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ พิจารณาเห็นความเกิดและความดับ
๒. ภังคานุปัสสนาญาณ พิจารณาเห็นความดับ
๓. ภยตูปัฎฐานญาณ พิจารณาเห็นสังขารเป็นของน่ากลั
๔. อาทีนวานุปัสสนาญาณ พิจารณาเห็นโทษของสังขาร
๕. นิพพิทานุปัสสนาญาณ พิจารณาสังขารเห็นเป็นของน่าเบื
๖. มุญจิตุกามยตาญาณ พิจารณาเพื่อใคร่จะให้พ้นจากสั
๗. ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ พิจารณาหาทางที่จะให้พ้นจากสั
๘. สังขารุเปกขาญาณ พิจารณาเห็นว่า ควรวางเฉยในสังขาร
๙. สัจจานุโลมิกญาณ พิจารณาอนุโลมในญาณทั้ง ๘ นั้น เพื่อกำหนดรู้ในอริยสัจ
๖ (ม้า) อนุโมทนากับ
๑ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
๒ พระปัจเจกะพุทธเจ้า
๓ พระอนุพุทธเจ้า
๔ สุตตพุทธเจ้า
๕ ทุกรูป-นาม ที่ประพฤติบุญ
๗ (ยักษ์) ฟังธรรม
“ บัณฑิตรู้ข้อแตกต่างระหว่
จึงยินดีในความไม่ประมาท อันเป็นแนวทางของพระอริยะ ”
๘ (แหวน) แสดงธรรมขอเชิญโอปปาติกะ มาฟังธรรม
“ บัณฑิตนั้น รู้ว่าความประมาทคือ คือความเข้าใจว่าชีวิตนี้ไม่ใช่
จะมีชีวิตได้อีกยาวนานเท่าใด หากอ้าง ร้อน หนาว หิว กระหาย ง่วง เพลีย แล้ว
ผลัดวันประกันพรุ่ง นั่นคือสิ่งที่จะต้องเสี
ทำความดี เรารู้ว่าเรายังมีโอกาสทำความดี
แม้นาทีข้างหน้า เราหรือใครๆ ก็ไม่อาจมีใครรู้ได้เลย
ว่าสิ่งที่เราไม่ปรารถนานั้
ส่วนคนพาล หรือคนไม่รู้นั้น ย่อมเกียจคร้านเป็นนิจ เพราะไม่เคยคิดว่าชีวิตเป็น
ของไม่แน่นอน แต่มักคิดเข้าข้างตัวเองว่า ว้นนี้ยังอยู่ พรุ่งนี้ก็ยังอยู่เหมือนวันนี้
ทั้งที่ทุกคนต้องตาย แต่พวกเขาไม่เคยมีมุมมองว่าตั
ทุกวัน แต่คนพาลกลับไม่เคยสามารถมองย้
ว่าเขาก็จะต้องตายเหมือนกัน
เมื่อเขาคิดว่าชีวิตนี้ยังอี
มักจะคิดว่ารออายุมากก่อนจึงเข้
นี่คือความคิดของคนพาลโดยแท้
พระพุทธองค์ทรงสรรเสริญ ความไม่ประมาทว่าเป็นธรรมที่มี
เป็นธรรมที่เสมือน รอยตีนสัตว์ใหญ่อย่างช้าง ที่สามารถครอบรอยตีนของสัตว์เล็
ทั้งหลายได้หมด
บัณฑิตผู้ไม่ประมาท ย่อมระลึกถึงความตายเป็นอารมณ์ แม้พระองค์
ก็ทรงระลึกถึงความตายอยู่ทุ
หากใครมิใช่คนพาล เขาก็ควรระลึกถึงความตาย อยู่เสมอ
เมื่อไรประมาท เมื่อนั้นคือคนพาล เขาคือคนที่ตายแล้ว
การมีชีวิตอยู่ของเขา สูญประโยชน์ไปในทันที เพราะคำนี้เพียงคำเดียว
คำว่า ประมาท ท่านทั้งหลายรู้สึกตัวรึยังว่า
ท่านก็จะมีชีวิตที่จะต้
วันนี้ท่านพร้อมสำหรับกาลนั้น..
๙ (อ่าง) ทำความเห็นให้ถูกตรง
เบื้องต่ำ /// ทวนในใจว่า ทาน ยัญ สังเวย ... มีผล
ผลกรรม ...เป็นตาม กรรม
พ่อ แม่ ...มีคุณแก่เรา
ชาตินี้-ชาติหน้า ...มี
โอปะปาติกะ ...มี
พระอรหันต์ ...บรรลุธรรมได้จริง
เบื้องสูง /// พิจารณา
พิจารณา ไตรลักษณ์
อนิจจัง ชีวิตในแต่ละวัน แต่ละนาที ไม่มีความแน่นอนว่ายังจะมีชีวิ
อีกนานเท่าไหร่
ทุกขัง ทุกวัน ทุกนาที ร่างนี้ก็เสื่อมสภาพลงไปเรื่อยๆ ต้องถึงจุดที่แตกสลายในที่สุด
หนีไม่ได้ ไม่ว่าใคร
อนัตตา เราไม่อาจควบคุมกายนี้ - ใจนี้ ให้เป็นไปตามความพอใจของเราได้
๑๐ (กา) อุทิศบุญ ผลบุญใดที่ได้ทำในครั้งนี้ขออุ
๑ ผู้มีคุณ พ่อ, แม่, ครู, ผู้ให้ความสุขกาย - สบายใจ
๒ ผู้มีโทษ ที่เคยได้ล่วงเกิน -ชีวิต -ร่างกาย -ทรัพย์สิน -คนรัก หรือชวนไปทางอบายมุข
๓ ผู้ไม่มีคุณ-ไม่มีโทษ โอปะปาติกะทั้งหลายที่ปรารถนาส่
นับคำข้าว เช้า มุม(๖๖)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น